จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ (George Bernard Shaw; 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1856 - 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1950)
เป็นนักเขียนบทละครชาวไอริช เกิดที่เมืองดับลิน ย้ายมาอยู่กรุงลอนดอนเมื่ออายุได้ 20 ปี และพำนักอยู่ในประเทศอังกฤษจนตลอดชีวิต
เขาเริ่มต้นชีวิตการทำงาน ด้วยการประพันธ์เพลงและเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม ต่อมาจึงหันมาเขียนบทละคร
และมีความชำนาญในการประพันธ์บทละครแนวชีวิต
ชอว์มีผลงานบทละครมากกว่า 60 เรื่อง ส่วนใหญ่มีเนื้อหาที่สะท้อนถึงปัญหาสังคม
เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม ในปี ค.ศ. 1925 และได้รับรางวัลออสการ์ สาขาบทภาพยนตร์ดัดแปลงยอดเยี่ยม ในปี ค.ศ. 1938
ผลงานที่มีชื่อเสียง ได้แก่
1. Man and Superman (ค.ศ. 1905)
2. Pygmalion (ค.ศ. 1913)
3. Saint Joan (ค.ศ. 1923)
ขอขอบคุณ วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไม่นานจอมมารดาจีอาก็ให้กำเนิดเทพบุตร 6 องค์ คือ โอเซียนัส (Oceanus) ซีอัส (Coeus) ครีอัส (Creus) ไฮเพอร์เรออน (Hyperion) ไออาเพทัส (Iapetus) และโครนัส (Cron
us) และให้กำเนิดเทพธิดา 6 องค์ นามว่า เธอา (Thea) เรอา (Rhea) เธมิส (Themis) เธทิส (Thetis) เนโมซิเน (Nemosyne) และฟีบี (Phoebe)
เทพบุตรและเทพธิดาทั้ง 12 องค์นี้มีขนาดร่างกายใหญ่มหึมา เรียกว่า ไททัน (Titan) หรือ ไจแกนทีส (Gigantes) ด้วยขนาดร่างกายที่ใหญ่โตนี้เอง ทำให้จอมบิดาอูรานอสหวาดหวั่นจึงได้จับเทพไททันทั้งหมดโยนลงไปขังไว้ในทาร์ทารัส (Tartarus) ซึ่งเป็นขุมนรกส่วนที่ลึกที่สุดในยมโลกที่มืดมิด เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เทพบุตรหรือเทพธิดาองค์ใดใช้พลังเป็นปฏิปักษ์กับจอมบิดาได้
ต่อมาจอมมารดาจีอาก็ให้กำเนิดโอรสที่แปลกประหลาดมากยิ่งขึ้นไปอีก คือ เป็นยักษ์ 50 หัว 100 แขน จำนวน 3 ตน คือ คอตทัส (Cottus) เบรียรูส (Briareus) และไกจีส (Gyges)
อูรานอสรู้สึกกลัวจึงจับพวกเขาโยนลงไปขังในทาร์ทารัสอีก
ต่อมาจอมมารดาจีอาก็ให้กำเนิดโอรสเป็นยักษ์ตาเดียว เรียกว่า ไซคลอปส์ (Cyclops) อีก 3 ตน มีนามตามลำดับว่า ฟ้าลั่น-บรอนทีส (Brontes) ฟ้าแลบ-สเทอโรพีส (Steropes) และแสงวาบ-อาร์จีส (Arges)
จอมบิดาอูรานอสก็จับไซคลอปส์ทั้งสามโยนลงไปขังไว้ในทาร์ทารัสอีกเช่นเดียวกัน แสงสว่างจากไซคลอปส์ทั้งสามนี่เองที่ทำให้ทาร์ทารัสที่มืดมิดพอมองเห็นกันได้ เมื่อเริ่มมองเห็นแสง เทพไททันก็เริ่มคิดหาทางเป็นอิสระ แต่ก็หาวิธีออกจากทาร์ทารัสไม่ได้
จนกระทั่งใครบางคนยืนมือเข้าช่วยเหลือ.....
Credit : หนังสือ ตำนานเทพกรีก / Wikipedia
เทพบุตรและเทพธิดาทั้ง 12 องค์นี้มีขนาดร่างกายใหญ่มหึมา เรียกว่า ไททัน (Titan) หรือ ไจแกนทีส (Gigantes) ด้วยขนาดร่างกายที่ใหญ่โตนี้เอง ทำให้จอมบิดาอูรานอสหวาดหวั่นจึงได้จับเทพไททันทั้งหมดโยนลงไปขังไว้ในทาร์ทารัส (Tartarus) ซึ่งเป็นขุมนรกส่วนที่ลึกที่สุดในยมโลกที่มืดมิด เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เทพบุตรหรือเทพธิดาองค์ใดใช้พลังเป็นปฏิปักษ์กับจอมบิดาได้
ต่อมาจอมมารดาจีอาก็ให้กำเนิดโอรสที่แปลกประหลาดมากยิ่งขึ้นไปอีก คือ เป็นยักษ์ 50 หัว 100 แขน จำนวน 3 ตน คือ คอตทัส (Cottus) เบรียรูส (Briareus) และไกจีส (Gyges)
อูรานอสรู้สึกกลัวจึงจับพวกเขาโยนลงไปขังในทาร์ทารัสอีก
ต่อมาจอมมารดาจีอาก็ให้กำเนิดโอรสเป็นยักษ์ตาเดียว เรียกว่า ไซคลอปส์ (Cyclops) อีก 3 ตน มีนามตามลำดับว่า ฟ้าลั่น-บรอนทีส (Brontes) ฟ้าแลบ-สเทอโรพีส (Steropes) และแสงวาบ-อาร์จีส (Arges)
จอมบิดาอูรานอสก็จับไซคลอปส์ทั้งสามโยนลงไปขังไว้ในทาร์ทารัสอีกเช่นเดียวกัน แสงสว่างจากไซคลอปส์ทั้งสามนี่เองที่ทำให้ทาร์ทารัสที่มืดมิดพอมองเห็นกันได้ เมื่อเริ่มมองเห็นแสง เทพไททันก็เริ่มคิดหาทางเป็นอิสระ แต่ก็หาวิธีออกจากทาร์ทารัสไม่ได้
จนกระทั่งใครบางคนยืนมือเข้าช่วยเหลือ.....
Credit : หนังสือ ตำนานเทพกรีก / Wikipedia
ราชบัณฑิตเสนอแก้ คำไทย 176 คำ มีศัพท์ฮิตหลายคำที่เปลี่ยน
นางกาญจนา นาคสกุล ราชบัณฑิต และนายกสมาคมครูภาษาไทยแห่ง
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 เพื่อสอบถามความเห็นจากคณะก
คำที่ยืมจากภาษาอังกฤษใหม่ เนื่องจากพบว่ามีคำศัพท์ที่ ยืมมาจากคำภาษาอังกฤษ 176 คำ เขียนผิด และไม่ตรงกับเสียงวรรณยุกต์ ของคำนั้นๆ
นางกาญจนา กล่าวต่อว่า ปัญหานี้เกิดขึ้นมาจากขั้นต อนการถอดคำ หรือว่ายืมคำมาจากภาษาอังกฤ ษ เมื่อแปลมาเป็นภาษาไทย ไม่ได้เติมวรรณยุกต์เสียงเอ ก โท หรือตรี
ให่้ตรงตามอักขรวิธีไทย อย่างคำว่า "แคลอรี" การเขียนให้ตรงกับการออกเสี ยงต้องเป็น "แคลอรี่" หรือว่าคำว่า "โควตา" ถ้าจะให้ตรงกับการออกเสียงต ้องเป็นคำว่า "โควต้า" รวมทั้ง "เรดาร์" ต้องเป็นคำว่า "เรด้าร์"
นางกาญจนา กล่าวต่อว่า เบื้องต้นได้สอบถามความเห็น จากสภาราชบัณฑิต ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการเติม วรรณยุกต์ และเปลี่ยนแปลงคำศัพท์ทั้ง 176 คำ เพื่อเขียนให้ถูกต้อง อย่างไรก็ตาม คงต้องรอดูผลการสำรวจความคิ ดเห็นอีกครั้งว่าส่วนใหญ่จะ เห็นด้วยทุกคำ หรือเห็นด้วยเฉพาะบางคำ
ซึ่งตามกำหนดเวลาแล้ว ภายในวันที่ 31 ตุลาคมนี้ ทุกคนต้องส่งแบบสอบถามดังกล ่าวกลับที่กองศิลปกรรม เพื่อประมวลผลความคิดเห็นว่ าเห็นด้วยหรือไม่ ทั้งนี้การขอปรับแก้คำศัพท์ ทั้ง 176 คำนั้น หากเสียงส่วนใหญ่เห็นด้วยว่ าควรเปลี่ยน ก็จะนำไปบรรจุในพจนานุกรมฉบ ับราชบัณฑิตย สถาน พ.ศ.2554 ซึ่งกำลังดำเนินการปรับปรุง เพื่อจัดพิมพ์เล่มใหม่
ที่มา http://www.dek-d.com/ board/view.php?id=2591410
นางกาญจนา กล่าวต่อว่า ปัญหานี้เกิดขึ้นมาจากขั้นต
ให่้ตรงตามอักขรวิธีไทย อย่างคำว่า "แคลอรี" การเขียนให้ตรงกับการออกเสี
นางกาญจนา กล่าวต่อว่า เบื้องต้นได้สอบถามความเห็น
ซึ่งตามกำหนดเวลาแล้ว ภายในวันที่ 31 ตุลาคมนี้ ทุกคนต้องส่งแบบสอบถามดังกล
ที่มา http://www.dek-d.com/